วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553

สัญญาณโรคไต

Subject: FW: สัญญาณโรคไต

> > > ตอน ... ไตเสื่อม
> > แต่มีภาระ
> > ยังตายไม่ได้
> > >
> > > อย่าเข้าใจว่า
> > ขอบตาดำ
> > เกิดจากนอนน้อย
> > นอนดึก เท่านั้น
> > ร่างกายจะมีสัญญาณ
> > บอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นเสมอ
> > แต่เราไม่เข้าใจ
> > ไม่รู้ว่า
> > ร่างกายต้องการบอกอะไร
> > > คนที่ขอบตาดำ
> > พึงระวังไว้ครับ
> > ว่า ...
> > ร่างกายกำลังเตือนว่า
> > ไตกำลังจะเสื่อม !
> > >
> > > ไม่ว่าอายุแค่ไหน
> > หนุ่มสาว หรือ แก่ชรา
> > ล้วนมีสิทธิไตเสื่อมด้วยกันทั้งนั้น
> > ผมพูดถึง ไตเสื่อม
> > ... ไม่ใช่โรคไต
> > >
> > >
> > ไตทำหน้าที่กรองของเสียในร่างกาย
> > ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งในหน้าที่หลายๆ
> > อย่างของไต
> > จึงสรุปสั้นๆ ว่า
> > >
> > > ไตเปรียบเหมือน GM
> > หรือ ผจก. ของร่างกาย
> > >
> > > คนยุคปัจจุบัน
> > ทำร้ายไตตัวเองโดยไม่รู้ตัว
> > ไม่ว่ากินอาหารที่ปรุงแต่งมากเกินไป
> > (เค็ม-มัน- เผ็ดมาก -
> > ฟาสฟู้ด-อาหารสำเร็จรูป
> > –
> > แช่แข็ง-อาหารอุตสาหกรรม
> > ฯลฯ) ร่างกายเสียสมดุล
> > อีกทั้งการใช้ชีวิตที่ไม่สอดคล้องกับเวลาที่ถูกต้อง นอนน้อยเกิน
> > นอนมากเกิน
> > นอนไม่เป็นเวลา
> > ไม่ออกกำลังกาย
> > (รวมถึงออกกำลังไม่เหมาะกับสภาพร่างกายตัวเอง)
> > เครียดมาก กดดันมาก
> > รีบเร่งมาก ฯลฯ
> > >
> > > คนยุคปัจจุบัน
> > มีแนวโน้มที่จะ
> > ไตเสื่อมมากขึ้น
> > และให้สังเกตร่างกายตัวเองดังต่อไปนี้
> > >
> > > 1. อ่อนเพลียบ่อย
> > ขาดความกระตือรือร้น
> > > 2. นอนไม่ค่อยหลับ
> > หรือ หลับไม่สนิท
> > > 3. ปัสสาวะบ่อย หรือ
> > กะปริดกะปรอย
> > > 4. ปวดตามตัว
> > เป็นตะคริวบ่อย
> > > 5. จาม คัดจมูก
> > เป็นหวัดง่าย
> > > 6. ซึมเศร้า
> > ปวดหัวง่าย ขี้ลืม
> > ขี้วิตกกังวล
> > > 7.
> > หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
> > หลั่งเร็ว
> > ประจำเดือนไม่ปกติ
> > > 8. ขอบตาดำคล้ำ
> > ผมหงอก ผมร่วงก่อนวัย
> > >
> > > จริงๆมีเยอะกว่านี้
> > เอาแค่นี้เช็คตัวเองก่อนแล้วกัน
> > ไม่ได้หมายความว่าต้องมี
> > อาการแบบนี้ทั้งหมด
> > แต่โดยรวมแล้วมีปรากฎให้เห็นกับตัวเอง
> > >
> > >
> > อะไรบ้างที่ทำให้ไตเราเสื่อม
> > >
> > > 1. ใช้ชีวิตขาดสมดุล :
> > นอนไม่พอ
> > ทำงานหนักหามรุ่งหามค่ำ
> > เที่ยวกลางคืนหนัก
> > หมกมุ่นความบันเทิง
> > ฯลฯ
> > > 2. เพศสัมพันธ์ :
> > มีเพศสัมพันธ์มากเกินควร
> > และหลั่งอสุจิมากเกินควร
> > ทำให้ร่างกายเสียพลังโดยเปล่าประโยชน์
> > และไตจะอ่อนแอลง
> > > 3.
> > การทานยารักษาโรคนานๆ
> > หรือปริมาณที่มาก :
> > ทั้งยาแก้ปวด ยาคุมฯ
> > ยาแก้หวัด แก้ไอ
> > แก้เครียด
> > >
> > ซึ่งแม้โรคจะหายแต่ไตจะมีเคมีของยาตกค้างอยู่
> > ยังมีอีกเยอะ
> > แต่แค่นี้คงครอบคลุมแล้วลองดูตัวเองว่าเป็นอย่างไร
> > มีอาการตามที่ว่าหรือไม่
> > > การแก้ไข ง่ายสุด
> > คือ
> > >
> > > ปรับพฤติกรรมตัวเอง
> > ทั้ง การนอน การกิน
> > การอยู่ หนึ่งวันมี 24
> > ชม. ให้แบ่งเป็น 3 ส่วน
> > ส่วนละ 8 ชั่วโมง
> > > ทำงาน 8 ชั่วโมง
> > ส่วนตัว 8 ชั่วโมง
> > (เที่ยว พักผ่อน ดูทีวี
> > สันทนาการ
> > ออกกำลังกาย) นอน 8
> > ชั่วโมง
> > >
> > หมอจะกำไรมากขึ้นจากการรักษาคนป่วย
> > แต่คนป่วยจะไตพังกันมากขึ้น
> > จากการกินยา
> > แล้ววนมาให้หมอรักษาไตอีก
> > ดังนั้น
> > ต้องตัดสินใจเองว่าจะบริหารจัดการชีวิตตนเองอย่างไร
> > ที่ไม่เสียงาน
> > ไม่เสียสุขภาพ
> > >
> > > นอกจากนี้
> > มีข้อแนะนำ ดังนี้
> > > 1.
> > ปรับวิธีการออกกำลังกาย
> > แอโรบิคก็เป็นการออกกำลังที่ดี
> > แต่ช่วงที่ร่างกายขาดสมดุล
> > จึงไม่แนะนำให้เล่นต่อ
> > เพราะอาจทำให้คุณสูญพลังมากขึ้น
> > อยากให้คุณฝึกโยคะ
> > กับครูผู้ชำนาญ
> > ซึ่งหาเรียนได้ไม่ยากในเวลานี้
> > (ห้ามฝึกเองจากหนังสือ
> > หรือ
> > ซีดีเด็ดขาดจะเสียมากกว่าได้)
> > การฝึกโยคะ
> > ไม่ได้ให้ประโยชน์แค่เรื่องความสวยงาม
> > แต่เป็นการปรับสมดุลของระบบภายในร่างกาย
> > ช่วยฟื้นฟูสภาวะที่ผันแปรต่างๆให้เข้าที่
> > แต่ต้องฝึกอย่างมีวินัย
> > และมีสมาธิ นอกจากนี้
> > หากมีฝึก ชี่กง
> > ควบคู่ไปด้วย
> > จะเห็นผลดี
> > และเร็วขึ้น
> > หากรู้สึกว่า
> > ยากหรือห่างตัวเกินไป
> > ก็ให้เลือกการว่ายน้ำ
> > โดยว่ายอย่างเบาๆ
> > แต่ต่อเนื่อง
> > ในเวลาที่พอสมควร (
> > เหนื่อยให้หยุดพัก
> > ห้ามฝืนต่อ )
> > คุณไม่ได้ไปแข่งกับใคร
> > คุณกำลังบำบัดตัวเอง
> > >
> > > 2. ปรับอาหาร :
> > งดเนื้อสัตว์ย่อยยาก
> > วัว หมู ไก่ เป็ด
> > ของเผ็ด ของเย็น
> > (ไอสครีม น้ำแข็ง)
> > ของมัน ของทอด
> > > ให้ทานปลาทดแทน
> > และทานผักสด
> > ที่ปรุงน้อย
> > (เช่นสลัด)มากขึ้น
> > ทานพวกถั่วแดง งาดำ
> > ข้าวโพด ข้าวกล้อง
> > >
> > ดื่มน้ำเปล่าอุณหภูมิปกติ
> > (ห้ามดื่มน้ำเย็น)
> > และงดเครื่องดื่มของมึนเมา
> > น้ำอัดลม นม
> > น้ำอุตสาหกรรม
> > (ชาเขียว ชาขาว
> > เครื่องดื่มบำรุงกำลัง)
> > >
> > > 3.
> > อยู่ห้องแอร์ให้น้อยลง
> > อยู่หน้าจอคอม
> > จอโทรทัศน์ให้น้อยลง
> > หาเวลาอยู่กับธรรมชาติมากขึ้น
> > (เดินเท้าเปล่าในสนามหญ้าได้จะดีมาก)
> > จะเห็นว่าที่แนะนำไป
> > ดูเบสิคมากเลยใช่มั้ยครับ
> > แต่ทำยากมากเลย
> > นี่ล่ะครับ
> > ผมถึงบอกว่าคนในยุคนี้ป่วยกันมากขึ้น
> > เพราะมีพฤติกรรมทำลายวงจรธรรมชาติของตัวเอง
> > >
> > อาการผิดปกติที่แสดงออกทางร่างกาย
> > ไม่ว่าพฤติกรรม
> > หรือความรู้สึก
> > ล้วนสัมพันธ์กับไต
> > >
> > ไตเหมือนแบตเตอรี่ที่มีค่ายิ่งของมนุษย์
> > เป็นผลึกแก้ววิเศษที่มีค่ามหาศาลแต่ก็เปราะบางยิ่งนักและง่ายต่อการแตกร้าว
> > >
> > วิธีการดูแลรักษาไม่ยากสำหรับคนในยุคก่อน
> > แต่ยากยิ่งสำหรับคนยุคนี้
> > นั่นคือ
> > "คล้อยตามธรรมชาติ"
> > คนสมัยก่อน ตื่นเช้า
> > นอนแต่หัวค่ำ
> > ทานอาหารสดใหม่ไม่ผ่านกระบวนการ
> > อุตสาหกรรม
> > ดื่มน้ำบริสุทธิ์
> > ใช้กำลังกายมากกว่าพึ่งพาสิ่งอำนวยความสะดวกฯลฯ
> > >
> > > ในขณะที่คนยุคนี้
> > นอนดึกเป็นกิจวัตร (
> > ทำงาน,ดูบอล,ดูโทรทัศน์,เที่ยวกลางคืน)
> > ทานอาหารปนเปื้อน แปร
> > รูป ดื่มน้ำอัดลม
> > พึ่งพาเทคโนโลยีจนเกินความจำเป็น
> > >
> > >
> > อาการไตเสื่อมจะเกิดใน
> > 2 ลักษณะ แยกเป็น
> > ไตหยิน กับ ไตหยาง
> > > อาการไตหยาง หรือ
> > ไตหดตัวแน่น
> > > - นอนไม่หลับ หรือ
> > หลับๆตื่นๆ
> > > - นอนกัดฟัน
> > ฝันร้ายบ่อย
> > > -
> > อสุจิเคลื่อนตอนนอน
> > > - เป็นเหน็บชาบ่อย
> > ฯลฯ
> > >
> > > โดยมีสาเหตุมาจาก
> > > 1. กินรสเค็มจัด หรือ
> > เนื้อย่าง ปิ้งไฟ หรือ
> > พวกเนื้อแห้ง
> > แดดเดียวบ่อยๆ
> > > 2. การทำงาน หรือ
> > การใช้ชีวิตที่ขาดระเบียบ
> > > 3. การนั่งทำงานหรือ
> > นั่งรถนาน
> > > ส่วนอีกลักษณะคือ
> > ไตหยิน หรือ ไตคลาย
> > > - เฉื่อยชา
> > เกียจคร้าน
> > > -
> > ความต้องการทางเพศต่ำลง
> > > - ปวดเมื่อหลัง
> > เอว
> > > - ปัสสาวะบ่อย
> > โดยเฉพาะกลางคืน
> > > - นอนตื่นสาย
> > ไม่อยากตื่น
> > > - อารมณ์อ่อนไหวง่าย
> > > - ขี้หูมาก
> > > -
> > เหงื่อออกเยอะผิดปกติ
> > ตามปกติแล้ว กลางคืน
> > ไต
> > ซึ่งเป็นอวัยวะธาตุน้ำ
> > หรือ "หยิน"
> > จะทำงานมากกว่ากลางวัน
> > > (
> > สังเกตว่าตื่นเช้าเราจะปวดปัสสาวะก่อนเป็นอั??ดับแรก)
> > >
> > > ดังนั้น
> > เมื่อเราใช้ชีวิตที่เพิ่มปัจจัย
> > "หยิน"
> > ในชีวิตประจำวันมากจนเกินดุล
> > ไตจึงยิ่งทำงานหนักขึ้น
> > (อาการหยินที่เกิด
> > เช่น ขี้เกียจ
> > อยากนอนตลอดเวลา
> > ปัสสาวะบ่อย
> > เซื่องซึม
> > สีหน้าซีดเซียว
> > ขอบตาคล้ำ
> > หงุดหงิดขี้รำคาญ
> > เป็นต้น)
> > >
> > >
> > การใช้ชีวิตที่ไปเพิ่มปัจจัยหยิน
> > ได้แก่
> > > -
> > การดื่มน้ำเย็นเป็นนิสัย
> > รวมทั้ง น้ำแข็ง
> > ไอศกรีม หวานเย็น
> > และอาหาร ลักษณะนี้
> > > -
> > ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์
> > > -
> > การสวมใส่เสื้อผ้าใยสังเคราะห์
> > ซึ่งมีไฟฟ้าสถิต
> > > -
> > การอาศัยอยู่ในที่เย็นนานๆ
> > เช่น ห้องแอร์ ดังนั้น
> > คนที่ทำงานในออฟฟิศที่เปิดแอร์ทั้งวัน
> > ควรหาเวลาเดินไปข้างนอกเปลี่ยนอากาศบ้าง
> > หรือ
> > ใส่เสื้อแจ็คเก็ต (
> > ควรเป็นผ้าธรรมชาติ
> > เช่น คอตตอน ) และ
> > หาโอกาสออกกำลังกายกลางแจ้งบ้าง
> > สำหรับคนนอนห้องแอร์
> > ควรสวมเสื้อผ้า
> > ห่มผ้าให้อบอุ่น
> > > - การนั่งรถนานๆ
> > โดยเฉพาะบนเส้นทางที่รถติดมากๆ
> > ยิ่งเพิ่มปัจจัยหยินมากขึ้น
> > > - นอนไม่เป็นเวลา
> > ทำงานไม่เป็นเวลา
> > นอนน้อย หรือ
> > นอนผิดเวลา
> > สำหรับคนที่นอน และ
> > ทำงานผิดเวลา
> > ตามหลักวงจรธรรมชาตินั้น
> > กลางวัน คือ
> > เวลาสำหรับ ทำงาน
> > เรียนหนังสือ กลางคืน
> > คือ สำหรับพักผ่อน
> > นอนหลับ
> > (หยางเคลื่อนไหว
> > หยินสงบนิ่ง)
> > >
> > >
> > การใช้ชีวิตที่ผิดวงจรนั้น
> > จะส่งผลถึงสุขภาพร่างกาย
> > และจิตใจ อย่างแน่นอน
> > >
> > >
> > แม้จะยังไม่แสดงตัวออกมาอย่างเต็มที่
> > นั่นเพราะ ตัวคุณมี "
> > ทุน" ที่ยังค้ำยันอยู่
> > แต่ ทุนจะหมด เพราะ
> > การใช้ชีวิตที่ผิดสะสม
> > >
> > อาหารที่ควรเลือกรับประทานเป็นหลัก
> > ได้แก่
> > > 1. ข้าวกล้อง
> > > 2. สาหร่ายทะเล
> > > 3. ถั่วแดง ผักสด
> > ผลไม้ไม่หวานและ
> > น้ำน้อย
> > > 4. เต้าเจี้ยว
> > >
> > > หลีกเลี่ยง
> > การใช้ชีวิต ดังนี้
> > > 1.
> > การใส่รองเท้าส้นสูง
> > > 2.
> > การนั่งหรือนอนบนเก้าอี้ที่แข็ง
> > หรือ
> > นุ่มเกินไปผิดรูปกายภาพ
> > (เก้าอี้ หรือเตียง
> > ดีไซน์เก๋ๆ
> > ที่นิยมกันในหมู่คนรุ่นใหม่)
> > > ควรเลือกแบบที่
> > ไม่แข็ง ไม่นุ่ม
> > กำลังดี
> > อย่างที่นอนใยมะพร้าว
> > >
> > >
> > การใช้ชีวิตที่ควรปรับเพิ่ม
> > > 1.
> > พยายามอย่านั่งหลังงอ
> > > 2. อย่านั่งนานๆ หรือ
> > อย่าอยู่อย่างเฉื่อยชานานๆ
> > นึกขึ้นได้ให้ขยับตัว
> > เคลื่อนไหว
> > เปลี่ยนอิริยาบถ
> > >
> > >

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ค้นหา